www.ptstraining.in.th

Production Planning & Control

 

การวางแผนและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ

 

วันที่  24  พฤศจิกายน 2566

 

เวลา 09.00-16.00 น. 

โรงแรม Graph ถนนรัชดาภิเษก

 



 

 

 

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร:

            จากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกซึ่งมีผลกระทบทำให้ธุรกิจยิ่งทวีความรุนแรงในการแข่งขันมากขึ้น ดังนั้นการทำธุรกิจโดยเฉพาะภาคการผลิตและภาคการบริการจำเป็นต้องมีการปรับตัวและปรับกลยุทธ์ต่างๆ ในการวางแผน การผลิตและการขาย เพื่อให้ทันต่อสภาพการแข่งขันในปัจจุบัน  ฉะนั้น ถ้าองค์กรรู้เทคนิคที่จะกำจัดปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนผลิตให้หมดไปและทั้งยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานของเครื่องมือที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไปอีก  อันจะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้องค์กรสามารถลดต้นทุนในการผลิตลงได้เป็นจำนวนมาก  หลักสูตรนี้จะชี้ให้เห็นถึงกุญแจสำคัญว่าอะไรเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหา รวมถึงเทคนิคต่างๆ ที่สามารถช่วยแก้ปัญหา ทำให้สามารถเพิ่มผลกำไรให้กับบริษัทและแข่งขันกับองค์กรอื่นๆได้

 

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมการผลิต

2. เพื่อทำให้ผู้อบรมสามารถเห็นภาพรวมของการวางแผนและควบคุมการผลิตทั้งหมด

3. เพื่อทำให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม

 

เนื้อหาหลักสูตร

     1.  เข้าใจหลักพื้นฐานและความสัมพันธ์ของระบบการผลิต

         •    ระบบการผลิตแบบต่อเนื่อง การผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง การผลิตแบบ Fixed

  • ระบบการผลิตแบบ Make to stock และวิธีวางแผน
  • ระบบการผลิตแบบ Make to order และการวางแผน

     2. การพยากรณ์ความต้องการ (Forecasting)

         • ประเภทของการพยากรณ์ที่ใช้สำหรับการผลิตแต่ละระบบ

         • ขั้นตอนและวิธีการพยากรณ์ ที่ช่วยในการคาดคะเนความต้องการของลูกค้า

     3. การคำนวณอัตราการผลิต (cycle time)

  • Man & Machine chart แผนภูมิคน-เครื่องจักร
  • Time measurement (การวัดเวลา cycle time)
  • Allowances ใช้ในการคำนวณอัตราการผลิต
  • Standard time calculation การคำนวณการตั้งเวลามาตรฐาน
  • วิธีการคำนวณประสิทธิภาพการผลิต
  •  

     4. การวางแผนกำลังการผลิต (capacity planning)

  • Process capacity
  • Machine downtime-uptime
  • การคำนวณกำลังการผลิต และการวางแผนกำลังการผลิต
  • วิธีการเพิ่มกำลังการผลิต

 

     5. Material Requirement Planning (MRP)

  • Bill of material การทำรายการวัตถุดิบ
  • Procurement lead-time ระยะเวลาในการสั่งซื้อ
  • Material requirement planning (MRP)
  • Material aggregate planning การวางแผนวัตถุดิบรวมระหว่าง การตลาด-ฝ่ายผลิต-supplier
  • Material receiving control การควบคุมการรับวัตถุดิบ

     6. Machine requirement planning

  • การวางแผนเครื่องจักร machine loading
  • การวางแผนอุปกรณ์ machine attachment planning

     7. Manpower planning

  • Skill requirement planning ทักษะการทำงานที่ต้องวางแผน
  • Skill matrix ตารางฝีมือ

     8. การวางแผนการผลิตอย่างมีระบบ

         • แผนการผลิตรวม (Aggregate Plan) ระหว่าง Marketing-Production-Suppliers

         • ตารางการผลิตหลัก (Master Schedule)

  • Monthly planning แผนการผลิตประจำเดือน
  • TAKT time planning (Just-in-time planning)
  • Scheduling ตารางการผลิตประจำวัน
  • Shipment planning การวางแผนการจัดส่ง

     9. การควบคุมการผลิต

  • รายงานการผลิตประจำชั่วโมง ประจำวัน
  • ปัญหาคอขวด และวิธีการแก้ไข
  • รายงานประสิทธิภาพการผลิตประจำวัน
  • การปรับกำลังการผลิต

     10. Supply chain management and supplier planning

  • Capacity requirement การวางแผนความต้องการกำลังการผลิตของ Supplier
  • Supplier integrated planning การวางแผนร่วมกันกับ Supplier
  • Demand planning การวางแผนความต้องการ
  • Supplier delivery control การควบคุมการจัดส่งของ supplier
  • สิ่งที่ supplier ต้องปรับเปลี่ยนสำหรับการเข้าสู่ supply chain

     11 Enterprise Resource Planning (ERP)

  • Inventory management การจัดการวัสดุคงคลัง
  • Machine management การบริหารเครื่องจักร
  • Material management การบริหารวัตถุดิบ
  • Production planning
อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Productivity improvement ของ องค์การสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาการค้า UNCTAD (United Nations Conference for Trade Development) และ USAID (United State Aid for International Development) และเป็นวิทยากร-ที่ปรึกษา Lean 6 Sigma ระดับนานาชาติ อยู่หลายประเทศในขณะนี้ อาจารย์มีประสบการณ์ตรงจากการเคยเป็นวิศวกรอุตสาหการ ผู้จัดการฝ่าย Industrial engineering, Production manager, Factory manager, General manager, และวางระบบ Lean ในโรงงานมาตั้งแต่ปี 1987 นอกจากนี้ยังได้มีส่วนในการช่วยให้องค์กรอื่น ๆ นำแนวทางดังกล่าวไปปฏิบัติจนได้รับความสำเร็จอย่างมหาศาล  โดยในการสัมมนาครั้งนี้ อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ จะมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์กับท่านถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้มา ในการทำความเข้าใจวัตถุประสงค์และพลังแห่งการปฏิบัติตามวิถีแห่งลีน

 

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม

หัวหน้างานระดับหน่วย ผู้ช่วยหัวหน้างาน เจ้าหน้าที่อาวุโส ทุกระดับในองค์กร

จำนวนผู้เข้าอบรม 20 คน

 

ดาวน์โหลดโบรชัวร์หลักสูตรได้ที่นี่

Fee Seminar/ อัตราค่าลงทะเบียน ต่อ 1 คน 

(รวมค่าวิทยากร  เอกสารบรรยาย )

ค่าอบรม (Seminar Fee)

ค่าสัมมนาราคาก่อน VAT

VAT 7%

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย  3%

ราคาสุทธิ 

    ค่าสัมมนา / 1 ท่าน

3,500

245

(105)

3,692

โปรโมชั่น

ลงทะเบียนพร้อมกัน 3 ท่าน เหลือ ท่านละ 3,300 บาท

 

 

 
Online:  1
Visits:  900,827
Today:  110
PageView/Month:  4,631